5 EASY FACTS ABOUT ด้วงสาคู DESCRIBED

5 Easy Facts About ด้วงสาคู Described

5 Easy Facts About ด้วงสาคู Described

Blog Article

จับตัวด้วงรวบรวมอีกกะละมัง คัดแยกเพศเพื่อรอผสมพันธุ์ก่อนนำไปปล่อยในกะละมังเลี้ยงต่อไป

Your browser isn’t supported anymore. Update it to find the best YouTube practical experience and our most up-to-date features. Learn more

และ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฟผ.

ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) เป็นแมลงพื้นถิ่นที่นิยมเลี้ยงและบริโภคกันมากในพื้นที่ภาคใต้ เนื่องจากมีพืชอาหารที่สำคัญคือ ต้นลานหรือต้นสาคู โดยจะเลี้ยงบนท่อนลาน หรือท่อนสาคู ต่อมาได้มีการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงแบบประยุกต์ คือการนำไปเลี้ยงในกะละมัง และนำต้นสาคูบดมาเป็นอาหารเลี้ยงในกะละมัง ทำให้สะดวกในการเลี้ยงมากขึ้น สามารถใช้พื้นที่ในการเลี้ยงที่จำกัด ต่อมาได้ขยายพื้นที่การเลี้ยงไปยังภาคอื่น ๆ ในประเทศไทยอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสามารถขนส่งสาคูบดไปยังทุกภูมิภาคต่าง ๆ ได้สะดวก นอกจากนี้ยังสามารถใช้พืชอาหารอื่นทดแทนต้นสาคูและต้นลานได้ เช่น มันสำปะหลังเนื่องจากมีลักษณะเป็นแป้ง จึงนำมาผสมเป็นสูตรอาหารสำหรับด้วงได้สะดวกมากขึ้น และในปัจจุบันมีผู้คิดค้นสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงอย่างหลากหลาย จึงทำให้สามารถเลี้ยงได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) นำมาปรุงอาหารหลากหลายเมนู เช่น ทอด ปิ้ง คั่วเกลือ ผัด เป็นต้น

เมื่อกะละมังเป็นภาชนะที่เราเอามาประยุกต์ใช้ จึงต้องมีการเติมอาหารเข้าไปเพื่อให้ด้วงสาคูดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วย เริ่มจากเลือกสูตรอาหารที่สามารถหาวัตถุดิบได้ง่ายและทำได้สะดวกเสียก่อน จัดการผสมอาหารแล้วรองไว้ก้นกะละมัง พร้อมกับปรับสภาพภายในให้เหมาะกับการเติบโต แล้วจึงปล่อยพ่อแม่พันธุ์ที่แข็งแรงลงไป

ชื่อนักวิจัย รศ.ดร.มนัส ชัยจันทร์ และ รศ.ดร.วรวรรณ พันพิพัฒน์

การเลี้ยงแบบดั้งเดิม โดยใช้ท่อนสาคูหรือท่อนลาน (แบบธรรมชาติ)

ปลูกกระเทียม ไว้กินเอง ในรั้วบ้าน อย่างง่าย

ด้วงสาคูด้วงงวงมะพร้าวRhynchophorus ferrugineusCurculionidaeRed palm weevilRed stripe weevilAsiatic palm weevilSago palm weevilCoconut weevilแมลงกินได้การเลี้ยงการตลาด

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ด้วงสาคู จังหวัดชุมพร (ผึ้ง) ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงด้วงสาคูแบบดั้งเดิม ว่า วิธีการนี้จะต้องมีอุปกรณ์การเลี้ยงที่สำคัญ ประกอบด้วย

อันดับแรกต้องเข้าใจธรรมชาติของด้วงสาคูก่อนว่า เมื่อโตเต็มวัยแล้วพวกมันจะสามารถบินได้อย่างอิสระ และในขณะที่เป็นตัวอ่อนก็มีศัตรูจำนวนไม่น้อยเหมือนกัน โรงเรือนจึงต้องมีตาข่ายหรือมุ้งลวดปิดล้อมรอบอย่างมิดชิด เพื่อไม่ให้สัตว์ชนิดอื่นเข้ามาและไม่ให้ด้วงสาคูที่เลี้ยงไว้หลุดออกไป นอกจากนี้พื้นที่ตั้งโรงเรือนจะต้องมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่มีบริเวณที่น้ำท่วมขังได้ง่าย

บทความถัดไปเมนูอาหารใต้ เคล็ดลับ และ วิธีทำ แกงพริกไก่ใส่หน่อไม้ดอง พร้อมสูตร การทำพริกแกงใต้

วิธีการเลี้ยงด้วงสาคู,ด้วงมะพร้าว,ด้วงลาน ในกะละมัง

สูตรอาหารเสริมผสมทางปาล์มสด (ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร)

Report this page